最近科技股的重殺讓許多人萌生不如歸去之感,不過買進時就應該理解科技股的波動是相對大的。像去年到今年初賺超快翻倍再翻倍,等到要回吐的時候也倒很快,心臟不夠大就還是建議調整一下配置。
在節目中有聊過復甦實體經濟的一些股票,像是 OTAs 如 ABNB, BKNG, EXPE,飯店 HLT, 咖啡店 SBUX 等,但價值股多的是雖然不跟跌看似穩定,但是大盤漲也不跟漲,又牛又皮。若想參與行情,與其去選股,不如選擇價值型 ETF,直接我全都要打包帶走,賺取平均行情。除介紹過的 Vanguard VTV, VBR,這邊再額外補充 iShares 的兩檔價值型 ETF IVE, IJS。我個人覺得差異不大,就是視個人喜好去挑選就好
VTV, IVE, VBR, IJS, 這四檔價值型 ETF 選股的方式大同小異,前兩者偏大型股取向、後兩者偏小型股取向。使用的策略為大家耳熟能詳的 price-to-sales ratio 市銷比、price-to-book ratio 本淨比、price-to-earnings ratio 本益比或 dividend yield 殖利率等這類的經典指標作價值推算。也因為用了那些指標,飛天遁地的 EV, SaaS 和 CRISPR 等類股自然就會被排除在外。選上的個股都是共識上沒有脫離估值太遠,充滿「價值」的股票。IJS 最近表現特別好,跟裡面有選到 WSB 概念股,GME, BBBY 等有關係。
個人看法:與其買價值股 ETF 不如直接去買美國大盤市值型 ETF VOO, VTI,你拉一下過往績效比一比就好,雖過去不代表未來,但我不覺得這樣的選股方式在未來可以輾過大盤。
關於「價值」的辯論也不會結束,到底是帳面價值重要,還是難以量化的未來重要?但當然心中認為價值股會復辟的人,還是可以配置一些。之所以沒這麼看好還是介紹是因為現在氣氛對了,等到科技股回溫又沒人會在意這些東西了。若看好道瓊成分股,也可以直接買進 DIA。
附上 CRSP 指數編列辦法:
http://www.crsp.org/files/Equity-Indexes-Methodology-Guide_0.pdf
同時也有5部Youtube影片,追蹤數超過16萬的網紅小楠 Curtis 的投資成長空間,也在其Youtube影片中提到,[更新財政分析模板] 這一次加入了 基本資料 , 財政 , 收入變化 , 毛利率 的數據分析. 我會在下期影片更仔細分享如何使用! https://drive.google.com/file/d/1aicNGvYTCUUm41-wEhTRQVsnDct4cxBD/view?usp=sharing ...
「price-to-earnings ratio」的推薦目錄:
- 關於price-to-earnings ratio 在 股癌 Gooaye Facebook
- 關於price-to-earnings ratio 在 ลงทุนแมน Facebook
- 關於price-to-earnings ratio 在 ลงทุนแมน Facebook
- 關於price-to-earnings ratio 在 小楠 Curtis 的投資成長空間 Youtube
- 關於price-to-earnings ratio 在 Spark Liang 张开亮 Youtube
- 關於price-to-earnings ratio 在 M觀點 Youtube
- 關於price-to-earnings ratio 在 P/E Ratio Basics - YouTube 的評價
price-to-earnings ratio 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
สรุป การประเมินมูลค่าบริษัท “สตาร์ตอัป” /โดย ลงทุนแมน
การประเมินมูลค่าบริษัท เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ประกอบกัน
ดังนั้น จึงมีวิธีการประเมินหลายแบบ หลายวิธี
และแต่ละคน ก็อาจนำไปประยุกต์ใช้แตกต่างกันตามความเหมาะสม
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
โดยทั่วไป วิธีการที่นักลงทุน นิยมใช้ประเมินมูลค่าบริษัททั่วไปที่ไม่ใช่สตาร์ตอัปคือจะใช้ Price-To-Earnings Ratio (P/E) หรือ อัตราส่วนมูลค่าบริษัท ต่อ กำไร
เช่น เชนร้านอาหารแห่งหนึ่ง สร้างกำไรได้ 100 ล้านบาท ในปีล่าสุด
ซึ่งสมมติว่า ธุรกิจร้านอาหารในตลาดจะมี P/E ประมาณ 15 เท่าของกำไร
ดังนั้น เชนร้านอาหารนี้ จะมีมูลค่าบริษัทที่ 1,500 ล้านบาท
แต่สำหรับบริษัทสตาร์ตอัป หรือบริษัทเทคโนโลยี
ที่ส่วนใหญ่ช่วงแรกของธุรกิจจะไม่มีกำไร เพราะต้องเร่งขยายฐานลูกค้า ฐานผู้ใช้งาน และครองส่วนแบ่งตลาดให้ได้มากที่สุด
ดังนั้น โมเดลธุรกิจของสตาร์ตอัป อาจเน้นที่สร้างการเติบโตเป็นหลักก่อน ยังไม่ยึดติดกับการทำกำไร
เหมือนกับ Grab, Foodpanda, Shopee, Lazada ที่ยอมขาดทุนมหาศาล
เพื่อหวังการเติบโตของธุรกิจ และกำไรในอนาคต
เหมือนอย่าง Facebook และ Amazon ที่แรกๆ ธุรกิจขาดทุน
แต่สุดท้ายบริษัทก็กลายเป็นเจ้าตลาด และทำกำไรได้อย่างมหาศาลในแต่ละปี
ซึ่งการประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์ตอัปที่ยังไม่ทำกำไร
จะนิยมใช้ Price-To-Sales Ratio (P/S) หรือ มูลค่าบริษัท ต่อ รายได้
หรืออีกวิธีคือ Enterprise Value-To-Sales Ratio (EV/S)
โดย Enterprise Value = มูลค่าบริษัท + หนี้สิน - เงินสด
ตัวอย่างเช่น สตาร์ตอัปด้านโซเชียลมีเดียแห่งหนึ่ง สร้างรายได้อยู่ที่ 100 ล้านบาท ในปีล่าสุด
ซึ่งสมมติว่า นักลงทุนประเมินให้ธุรกิจโซเชียลมีเดียหน้าใหม่ มีค่า P/S อยู่ที่ 10 เท่าของรายได้
ดังนั้น สตาร์ตอัปนี้ จะมีมูลค่าบริษัทราว 1,000 ล้านบาท
จะสังเกตได้ว่า ทั้งวิธี P/S และ EV/S จะให้ความสำคัญกับ “รายได้” ในการประเมินมูลค่าบริษัท
ซึ่งต่างจากวิธี P/E ที่ให้ความสำคัญกับตัว “กำไร”
วิธี P/S และ EV/S จึงเหมาะสำหรับใช้ประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์ตอัปมากกว่าวิธี P/E
เนื่องจาก บริษัทสตาร์ตอัปส่วนใหญ่ อาจยังไม่ทำกำไรนั่นเอง
แต่ทุกวิธีข้างต้น จะมีสิ่งที่เหมือนกันคือ ยิ่งบริษัทมีศักยภาพทางธุรกิจสูง
เช่น มีอัตราการเติบโตของรายได้และผู้ใช้งานสูง, มีเทคโนโลยีล้ำหน้า, ผูกขาดตลาด, มี Network Effect นักลงทุนก็จะให้ค่า P/E, P/S และ EV/S ที่ยิ่งสูง และทำให้มูลค่าบริษัทสูงตามไปด้วย
นอกจากนี้ ยังมีวิธีอื่นๆ ที่สามารถใช้ประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์ตอัปได้ เช่น
วิธี Discounted Cash Flow (DCF)
ถึงบริษัทจะไม่มีกำไร แต่หากกระแสเงินสดของธุรกิจยังเป็นบวก
ก็นำวิธีประเมินมูลค่าบริษัทแบบ DCF มาประยุกต์ใช้ได้เช่นกัน
โดยวิธีคือ การคาดการณ์กระแสเงินสดสุทธิ ที่บริษัทจะทำได้ในอนาคต แล้วคิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน
ทั้งนี้ สำหรับบริษัทสตาร์ตอัป มักมีความเสี่ยงที่สูงกว่าบริษัทใหญ่ๆ
ดังนั้น นักลงทุน ต้องใช้อัตราคิดลดที่สูงกว่าธุรกิจอื่นๆ ในการประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์ตอัป
อีกวิธีหนึ่งคือ วิธีเปรียบเทียบกับบริษัทอื่น ที่มีธุรกิจใกล้เคียงกัน
เช่น ใช้เกณฑ์จำนวนผู้ใช้งานมาเปรียบเทียบมูลค่า
ยกตัวอย่างคือ
Instagram มีจำนวนผู้ใช้งานต่อวัน (Daily Active Users) 500 ล้านคน
ในขณะที่คู่แข่งอย่าง Snapchat มีจำนวนผู้ใช้งานต่อวันอยู่ 249 ล้านคน และมีมูลค่าบริษัทอยู่ที่ประมาณ 2 ล้านล้านบาท
ดังนั้น Instagram มีผู้ใช้งานรายวันมากกว่า Snapchat 2 เท่า ทำให้ประเมินได้ว่าควรมีมูลค่าบริษัทประมาณ 4 ล้านล้านบาท
ทั้งนี้ วิธีการเปรียบเทียบแบบนี้ ต้องคำนึงเสมอว่า
แต่ละบริษัทที่นำมาเทียบกัน อาจมีโมเดลและปัจจัยอื่นทางธุรกิจแตกต่างกัน
จึงไม่อาจสามารถนำมาเปรียบกันได้ตรงๆ 100% แม้จะอยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันก็ตาม
สำหรับวิธีสุดท้ายก็คือ วิธีเปรียบเทียบกับมูลค่าตลาด
เช่น ตลาดโฆษณาโดยรวมมีมูลค่าอยู่ 100,000 ล้านบาท
โดยสตาร์ตอัปแห่งหนึ่ง คาดว่าจะครองส่วนแบ่งตลาดโฆษณาได้ 30% และจะมีอัตรากำไรที่ 20%
ดังนั้น บริษัทจะมีกำไรอยู่ที่ 100,000 x 30% x 20% เท่ากับ 6,000 ล้านบาท
ถ้าเอากำไรไปคูณกับค่า P/E เช่น 30 เท่าของกำไร
สตาร์ตอัปแห่งนี้ จะถูกประเมินมูลค่าบริษัทที่ราว 180,000 ล้านบาท
สรุปแล้ว การประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์ตอัป
จะมีหลายสูตร หลายวิธีการ
ขึ้นอยู่กับว่าจะเลือกวิธีไหน มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับโมเดลและประเภทธุรกิจ
ซึ่งผลลัพธ์ของการประเมินที่ได้ ก็จะออกมาแตกต่างกันไป ตามความเหมาะสมของสภาพธุรกิจ อุตสาหกรรม และตามมุมมองของนักลงทุนแต่ละคน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
price-to-earnings ratio 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
กรณีศึกษา P/E 4 เท่าของ SF /โดย ลงทุนแม
P/E หรือ Price to Earnings Ratio ที่เราเห็นกันในเว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์
จะคำนวณมาจากมูลค่าบริษัท หารด้วยกำไรสุทธิที่บริษัททำได้ใน 4 ไตรมาสล่าสุด
อัตราส่วนนี้เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่นักลงทุนมักจะนำมาใช้ประเมินมูลค่าบริษัทได้ว่า ถูก หรือ แพง...
Continue Reading
price-to-earnings ratio 在 小楠 Curtis 的投資成長空間 Youtube 的評價
[更新財政分析模板]
這一次加入了 基本資料 , 財政 , 收入變化 , 毛利率 的數據分析. 我會在下期影片更仔細分享如何使用!
https://drive.google.com/file/d/1aicNGvYTCUUm41-wEhTRQVsnDct4cxBD/view?usp=sharing
歡迎免費轉發和使用!
[PE數據]
https://www.macrotrends.net/2577/sp-500-pe-ratio-price-to-earnings-chart
券商: Webull 微牛 (免費股票只限美國用戶)
https://act.webull.com/kol-us/share.html?inviteCode=59FZmmdIWDPo&source=main
免費平台下載:
https://www.webull.com/zh/introduce
本文所提供的信息僅供一般參考之用,並不構成任何個人化的投資勸誘或建議
成為這個頻道的會員並獲得獎勵:
https://www.youtube.com/channel/UC8AA0Ao2ZHxNWZu0ZFdRZxw/join
price-to-earnings ratio 在 Spark Liang 张开亮 Youtube 的評價
【9分鐘了解本益比和收益率,幫你找出便宜又值得買入的股票】
什麼是本益比(Price-to-Earning Ratio 簡稱PE)?
是價錢跟賺的錢的比例
用來判斷一個公司是否值得買入
找出股票的合理價
是身為一個投資者需要學習的重要指標
那麼比起本益比,
我更喜歡用收益率
收益率是用這個價錢買入的話
我能賺多少錢?
能用收益率來判斷說
這個價錢值不值得買入
那麼本益比和收益率是價值投資中估值的方法
都是可以用來和其他公司或資產來做比較
那麼你會喜歡用哪個呢?
影片概括:
0:00 Start
0:18 什麼是本益比(Price to Earnings Ratio)?
2:18 什麼是收益率 (Earnings Yield)?
2:54 如何用本益比來評估股價?
5:15 什麼叫質量?
8:27 總結
.
【免費】股票投資工作坊 - 從0開始學股票
https://bit.ly/yt-vid-webinar-reg
.
獲取我的獨家理財貼士
http://bit.ly/get-spark-financial-tips
.
【免費】股票投資工作坊 - 從0開始學股票
http://bit.ly/join-free-webinar-now
.
🔥點擊連結瞭解更多詳情或購買🔥
https://valueinmind.co/zh/sparks/
.
我們需要人才
我們需要你
向我們展現你不可多得的能力與實力
數不盡的各種公司福利就等你
點擊鏈接提交求職申請:https://valueinmind.co/join-us/
.
🔥【Etoro】Spark 投資組合和表現 🔥
http://bit.ly/31FPXEz
.
全世界都可以用
eToro申请链接
简体
https://bit.ly/2Yks0mR
繁體
https://bit.ly/2Qilit7
英文
https://bit.ly/2Eo69Uq
.
免責聲明:
高波動性投資產品,您的交易存在風險。過往表現不能作為將來業績指標。
視頻中談及的內容僅作為教學目的,而非是一種投資建議。
.
👇更多相關影片👇
2020下半年,連股神巴菲特都推崇的ETF,應該如何投資?
https://bit.ly/324xu6g
.
蘋果宣布拆股股票就大漲, 我應該趁機買入嗎?
https://bit.ly/2CyvM4u
一天漲了200%,到底什麼是warrant?
https://bit.ly/3kHdlvS
.
⚡ Spark 的 Facebook 很熱閙
http://bit.ly/2X3Cgwr
.
⚡Spark 的 YouTube 很多教學
http://bit.ly/2KMqMvR
.
⚡Spark 的 Instagram 很多八卦
http://bit.ly/31YMLon
.
⚡理财交流站
http://bit.ly/finspark-group
.
⚡美股交易交流区
http://bit.ly/finspark-foreign-stocks
#本益比 #收益率 #估值
price-to-earnings ratio 在 M觀點 Youtube 的評價
本益比 P/E Ratio,是投資市場上最常用來判斷股票價位是否太貴的指標。但是用本益比來決定股票能不能買入,真的是正確的投資方式嗎?本益比有沒有盲點呢?
本集的M觀點,就帶大家來徹底了解本益比這個指標的優缺點。
#本益比
#PERatio
#股票價格
M觀點資訊
---
M觀點商學院 PressPlay 訂閱服務: https://lihi.cc/zY5Qc
M觀點LINE@ https://line.me/R/ti/p/%40zxy2907b
M觀點YouTube頻道訂閱 https://bit.ly/2nxHnp9
M觀點粉絲團 https://www.facebook.com/miulaperspective/
任何合作邀約請洽 miula@outlook.com
price-to-earnings ratio 在 P/E Ratio Basics - YouTube 的八卦
... <看更多>